การเกิดภาพโดยกระจกโค้งเว้า
รูปที่ 1 เมื่อวัตถุอยู่ไกลกว่าจุด C จะเกดิ ภาพจริงหัวกลับอยู่ด้านหน้าใกล้กระจกเว้า
รูปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้กระจก ภาพที่เกดิ จะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ขึ้น
รูปที่ 4 เมื่อวัตถุอยู่ที่จุดโฟกสั ของกระจก แสงสะท้อนแต่ละเส้นจะขนานกนั จะไม่เกดิ ภาพใดๆ
รูปที่ 5 เมื่อวัตถุอยู่ใกล้กว่าจุดโฟกสั แสงสะท้อนแต่ละเส้นกระจายออกจากกนั ไม่ตัดกนั แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงสะท้อนจะตัดกนั ได้ ทา ให้เกดิ ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
การเกิดภาพโดยกระจกนูน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยู่หลังกระจก
และระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการสะท้อน
1. หัวกลับ
2. เกิดหน้ากระจก
3. เอาฉากมารับได้
ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะท้อน
1. หัวตั้ง
2. เกิดหลังกระจก
3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ด้วยตาเปล่า
ผ่านกระจก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น